วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2553

แบบทดสอบ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1.  ข้อใดเป็นเหตุผลที่ถูกต้องที่สุดเพื่อแสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
       โมเลกุลของสารนั้นจะมีการชนกันมากขึ้น
       ทำให้ความดันเพิ่มขึ้น
       ทำให้พลังงานกระตุ้นเพิ่มขึ้น
       โมเลกุลบางส่วนมีพลังงานสูงเกิดขึ้น
2.  ในการศึกษาปฏิกิริยาเคมีโดยทั่วไปมักต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็ว  ดังนั้นเวลาทำการทดลองจึงมักกระทำอย่างไร
       อุ่นให้ร้อนเพื่อเพิ่มอุณหภูมิ                                      ใช้สารละลายมีความเข้มข้นสูง
       ใช้วิธีคนอย่างสม่ำเสมอ                                            ใช้วิธีการทั้ง  1  2  และ 3
3.  ปฏิกิริยาย้อนกลับของ  X                      Y  มีพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาไปข้างหน้า  100  kJ/mol  มีพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ  75  kJ/mol  ปฏิกิริยา  X                        Y นี้เป็นปฏิกิริยาชนิดใด
       คายความร้อน 25  kJ/mol                                         คายความร้อน 175  kJ/mol
       ดูดความร้อน  25  kJ/mol                                        ดูดความร้อน 175  kJ/mol
4.  การทดลองในข้อใดมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่สูงที่สุดที่อุณหภูมิเดียวกัน
       ใส่แผ่นสังกะสี  1  ชิ้น  หนัก  1  กรัม  ลงในกรด  HCl  0.1  mol/dm3
       ใส่แผ่นสังกะสี  2  ชิ้น  หนัก  0.5  กรัม  ลงในกรด  HCl  0.2  mol/dm3
       ใส่สังกะสีผงละเอียดหนัก  1  กรัม  ลงในกรด  HCl  0.1  mol/dm3
        ใส่สังกะสีผงละเอียดหนัก  1  กรัม  ลงในกรด  HCl  0.2  mol/dm3
5.  ตามทฤษฎีการชนกันของโมเลกุล  และทฤษฎีจลน์ของก๊าซข้อใดเป็นขั้นตอนที่กำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยารวม
       ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปช้าที่สุด                                ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นแรก
       ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปเร็วที่สุด                              ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นสุดท้าย
6.  เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นด้วยเพราะเหตุผลข้อใด  (ให้ตอบข้อที่ถูกที่สุด)
       จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นเพิ่มมากขึ้น
       โมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นชนกันมากขึ้น
       จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นเพิ่มมากขึ้น  และมีการชนกันมากขึ้น
       โมเลกุลทั้งหมดของสารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้น  และชนกันมากขึ้นอย่างถูกทิศทาง
7.  การเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่สันนิษฐานได้ว่าเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
       C (s)  +  O2 (g)                        CO2(g)            CCl4 (g)                     C (s)  +  2Cl2 (g)    
       2H2 (g)  +  O2 (g)                       2H2O (g)    C (s)  +   2H2 (g)                     CH2(g)
8.  จากการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา  โดยการจับเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนปฏิกิริยาสิ้นสุดที่อุณหภูมิต่างๆ กันพบว่าได้ผลดังนี้
               
อุณหภูมิ  ( °c )
เวลาที่ใช้  ( วินาที )
16
40
56
400
50
12.5


อัตราเร็วของปฏิกิริยานี้จะเพิ่มเป็น  2  เท่าเมื่อเพิ่มอุณหภูมิขึ้นเท่าใด
       8°c                                   10°c                                   12°c                                   16°c
9.  คะตะไลต์ที่เป็นของแข็ง  สามารถเพิ่มอัตราเร็วของปฏิกิริยาระหว่างก๊าซได้ดังนี้
    I    ดูดซับโมเลกุลของสารตั้งต้นไว้บนผิว
   II   ทำให้พลังงานพันธะในโมเลกุลของสารตั้งต้นมีค่าลดลง
  III   ทำให้พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยามีค่าลดลง
  IV   ทำให้โมเลกุลของสารตั้งต้นมีพลังงานเฉลี่ยสูงขึ้น
ข้อความข้างต้นนี้ข้อความใดถูกต้อง
       I , II  และ III  เท่านั้น                                                I และ III  เท่านั้น    
       I  และ  IV  เท่านั้น                                                  IV  เท่านั้น
10.  เมื่อนำโซเดียมคาร์บอเนตน้ำหนักแน่นอนละลายในน้ำจำนวนหนึ่งแล้ววัดอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงพบว่า  อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเราทราบแล้วว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น  คือ
     1.  Na2CO3 (s)                       2Na (g)   +   CO3  2- (g)
     2.  2Na (g)   +   CO3  2- (g)      H2O         2Na  (aq)  +  CO32- (ag)  
ข้อสรุปเกี่ยวกับพลังงานการละลายของโซเดียมคาร์บอเนต  ข้อใดถูก
       การใช้พลังงานในข้อ    มากกว่าการคายพลังงานในข้อ 
       การคายพลังงานในข้อ    มากกว่าการใช้พลังงานในข้อ 
       การใช้พลังงานในข้อ  ก น้อยกว่าการคายพลังงานในข้อ 
       การใช้พลังงานในข้อ    ไม่แตกต่างจากการคายพลังงานในข้อ 


11.ในการศึกษาปฏิกิริยาระหว่างฮีโมโกลบิน (Hb)  กับคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)  ที่  20°c 
pH  7.3  มีสมการดังนี้
                                4Hb  +   3CO                         Hb4 (CO) 3
  ได้ผลการทดลองดังนี้
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
mol/dm3
อัตราการหายไปของ  Hb 
( mol/dm3 - sec) 
[Hb]
3.00
6.00
6.00
[CO]
1.00
1.00
2.00

0.90
1.80
3.60


ในขณะที่ความเข้มข้นของ Hb เป็น 3.0 mol/dm3 และของ CO  เป็น 2.00 mol/dm3 อัตราการหายไปของ Hb เป็นกี่ mol/dm3
       0.90                                1.80                                    2.70                                    3.60
12.  กลไกของปฏิกิริยาออกซิเดชัน  จาก  V 3    ไปเป็น  V 4   มี  2  ขั้นตอนดังนี้
                               V 3      +   Cu2                       V 4      +   Cu  
                                Cu      +  Fe3                         Cu2       +  Fe2 
คะตะไลต์ของปฏิกิริยาคือตัวใด
       V 4                                 Cu2                                       Fe3                                      Fe2 
13.  เมื่อใส่  1  M  HCl  25 cm3 ลงหินปูนชิ้นเล็กๆ  จะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้น  การเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่จะไม่ทำให้อัตราของปฏิกิริยาเริ่มต้นเพิ่มขึ้น
         ใช้  1  M  HCl  100 cm3                                        ใช้  2  M  HCl  25 cm3         
         ใช้  2  M  HCl  50 cm3                                         บดหินปูนให้เป็นผงละเอียด
14.  ในปฏิกิริยา  Mg (s)   +   2HCl (aq)                     MgCl2 (aq)  +   H2 (g)  พบว่า  เมื่อปฏิกิริยาใกล้จะสิ้นสุดนั้นอัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนจะลดลง  ทั้งนี้เพราะเหตุใด
        ผลิตภัณฑ์รวมตัวกันกลับไปเป็นสารตั้งต้นมากขึ้น
        ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง
        อุณหภูมิของผสมจะลดลงเนื่องจากพลังงานถูกใช้ไป
        ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทำหน้าที่เป็นตัวขัดขวางปฏิกิริยา



คำชี้แจง  ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ในการตอบคำถามข้อ  15  และกำหนดค่าพลังงานพันธะต่อไปนี้
                H - H   =  436  kJ/mol                                     C - I     =  218  kJ/mol
H - O   =  463  kJ/mol                                     Cl - Cl  =  242  kJ/mol
H - Cl  =  431  kJ/mol                                      N - H    =  391  kJ/mol
H - C   =  413  kJ/mol                                     N =  N  =  945  kJ/mol
H - S   =  467  kJ/mol                                      O     O  =  498  kJ/mol
H - I    =  298 kJ/mol                                        I - I      =  151  kJ/mol
15.  ปฏิกิริยาใดต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
        2HCl (g)                      H2(g)   +   Cl2(g)   
        H2S (g)   +  Cl2(g)                     2HCl (g)   +   S (s)  
        4NH3 (g)  +  3O2(g)                       6H2O (g) +  2N2 (g) 
       CH4 (g)   +I2(g)                       CH3I (g)   +   HI (g)  
16.  เมื่อใส่โลหะ  x  ลงในกรดไฮโดรคลอริก  จะเกิดปฏิกิริยาให้ก๊าซไฮโดรเจน  ในการทดลองเมื่ออุณหภูมิต่างๆกันโดยจับเวลาที่ใช้ไปเมื่อได้ก๊าซไฮโดรเจน  5  cm3  ได้ข้อมูลดังนี้
อุณหภูมิ  °c
เวลา  ( วินาที )
30
40
50
100
50
25

ถ้าทำการทดลองที่  20°c  จะต้องใช้เวลาเท่าใด
        150  วินาที                   200  วินาที                        250  วินาที                       300  วินาที
17.  ปฏิกิริยาการเติมก๊าซไฮโดรเจนแก่สารอินทรีย์แทบจะไม่เกิดขึ้นเลยถ้าไม่เติมผงนิกเกิลลงในปฏิกิริยาและเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาแล้วจะได้นิกเกิลเหมือนเดิม  ผงนิกเกิลมีผลต่อปฏิกิริยาอย่างไร
        เพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่โมเลกุลของสารเริ่มต้น
        ลดพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
        เพิ่มความสามารถในการผสมเป็นเนื้อเดียวกันของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา
        ลดความแตกต่างระหว่างระดับพลังงานของสารเริ่มต้น  และผลิตภัณฑ์
18.  การศึกษาปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิก  (H2C2O4) กับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4)  ในสารละลายที่มีความเข้มข้นของกรดซัลฟุริกคงที่  ได้ข้อมูลดังนี้



               H2C2O4 mol/dm3               KMnO4  mol/dm3             อุณหภูมิ ,°c
                            0.05                                       0.05                               30
                            0.05                                        0.10                             30
                            0.10                                        0.10                                 40
                           0.10                                        0.20                                 40
จงเลือกข้อความที่ถูกต้องที่สุด
        ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในข้อ  ข เร็วเป็นสองเท่าของในข้อ  ก อัตราการเกิดปฏิกิริยาในข้อ    จะเป็นสองเท่าของข้อ 
        ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในข้อ    เร็วเป็นสองเท่าของในข้อ  ข แสดงว่าปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นเท่าตัวเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น  10 °c
        ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยาในข้อ    เร็วเป็นสองเท่าของในข้อ  ก แสดงว่าปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นเท่าตัวเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น  10 °c
        อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
19 .  ข้อสรุปใดต่อไปนี้ผิด
        โมเลกุลชนกันทุกครั้งต้องเกิดปฏิกิริยา  หากมีพลังงานกระตุ้นเพียงพอ
        ถ้าพลังงานของสารตั้งต้นมากกว่าสารผลิตภัณฑ์  ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะเป็นปฏิกิริยา
คายความร้อน
        ตัวเร่งปฏิกิริยาทำให้พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาลดลง
        เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น  อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
20.  ผลการทดลองต่อไปนี้  ได้มาจากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกที่มีความเข้มข้น  0.2  mol / l
ปริมาณก๊าซไฮโดรเจน (cm3)
เวลา  (s)
1
2
3
4
5
6
20
42
65
86
109
134


    นักเรียนสรุปผลการทดลองออกมาดังนี้
       อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาใดๆ  จะเท่ากันเสมอ
       อัตราการเกิดปฏิกิริยาในตอนเริ่มการทดลองจะมากกว่าในตอนท้ายการทดลอง
       อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด  5 - 6 cm3 เท่ากับ  0.04  cm3/ s 
       ถ้าเพิ่มความเข้มข้นของกรดไฮโดรคลอริกเป็น  0.4  mol / l  อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เวลาใดๆ  ย่อมเพิ่มขึ้น
        อัตราการเกิดปฏิกิริยา    วินาทีที่  50  หาได้จากค่าความชัน (slope)  ของเส้นสัมผัสที่จุดนั้น
ดังนั้นผลการสรุปของนักเรียนอาจกล่าวได้ว่า
       ข้อ    ผิด  นอกนั้นถูกหมด                                     ข้อ    และข้อ    ผิด  นอกนั้นถูกหมด          
       ข้อ    และข้อ    ถูก  นอกนั้นผิดหมด               ถูกทุกข้อ
21.  จากตารางในข้อ  20  อัตราเฉลี่ยของการเกิดก๊าซไฮโดรเจนจะเท่ากับ
       5/114  cm3/ s                                                              0.06  cm3/ s  
        0.044  cm3/ s                                                             21/456  cm3/ s 
22.  พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้
    2NO (g)  +  2H2(g)                       N2 (g)   +  2H2O (g)
การเปลี่ยนแปลงใดที่ไม่ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
        เพิ่มจำนวนโมเลกุลของก๊าซ  NO  เป็น 2 เท่า
        เพิ่มอุณหภูมิของระบบ
        เพิ่มปริมาตรของระบบ       
        ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา
23.  อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง  A              B  +  Cเขียนได้เป็นอัตราการเกิด  =  k (ความเข้มข้น A) โดยที่  k เป็นค่าคงที่  ถ้าหากเพิ่มความเข้มข้นเริ่มต้นของ A เป็น 2  เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะ
        เพิ่มเป็น  2  เท่า                                                          เท่าเดิม
        ลดลง  2  เท่า                                                             เพิ่มขึ้น  4  เท่า
24.  ปฏิกิริยา         2O3 (s)                     3O2 (g)                  Ea  =  117  kJ
                                3O2 (g)                     2O3 (g)               E  =  284  Kj
       ปฏิกิริยา      3O2 (g)                     2O3 (g)  จะมีค่า  Ea  เท่ากับเท่าใด
        401  kJ                          167 kJ                                259 kJ                                518 kJ  
คำชี้แจง  ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ  25 - 26
              ในการทดลองครั้งหนึ่งใช้หินอ่อน (CaCO3)  เป็นเม็ดกลมๆ หนัก  4  กรัม  ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกเจือจางจำนวนมากเกินพอ  ปรากฏว่าหินอ่อนทำปฏิกิริยาจนหมดใช้เวลา  6  นาที
และเก็บก๊าซได้  1200  ลูกบาศก์เซนติเมตร  ที่อุณหภูมิและความดันห้อง
25.  อัตราเร็วเฉลี่ยของการเกิดปฏิกิริยานี้มีค่ากี่ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที
        1.11                               2.22                                    3.33                                    4.44

26.  ถ้ายังทำการทดลองที่อุณหภูมิและความดันเดิม  แต่บดเม็ดหินอ่อนจำนวนเท่าเดิมให้ละเอียดเป็นผงเพื่อให้ทำปฏิกิริยากับกรดปริมาณเท่าเดิมจนหมด  ผลการทดลองจะเป็นอย่างไร
        ได้ก๊าซมากกว่า  1200  cm3 และใช้เวลาน้อยกว่า  6  นาที
        ได้ก๊าซน้อยกว่า  1200  cm3 และใช้เวลาน้อยกว่า  6  นาที
        ได้ก๊าซ 1200  cm3 เท่าเดิมและใช้เวลามากกว่า  6  นาที
        ได้ก๊าซ 1200  cm3 เท่าเดิมและใช้เวลาน้อยกว่า  6  นาที
27.  บรรจุก๊าซ  A2  และก๊าซ  B2 ในภาชนะที่อุณหภูมิห้อง  เมื่อเผาให้ร้อนก๊าซทั้งสองจะทำปฏิกิริยากันดังสมการ  2A (g)   +   B2 (g)                                   2AB (g)   อัตราเร็วของปฏิกิริยา  =  k [B2]2
เมื่อทำการเปลี่ยนแปลงระบบดังต่อไปนี้
    1   เพิ่มความดันของก๊าซขึ้นเท่าตัว         
    2   เพิ่มความเข้มข้นของสาร A      
    3   เติมตัวเร่งปฏิกิริยา
การเปลี่ยนแปลงในข้อใดที่น่าจะทำให้เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
       1 , 2  และ  3                      3                                2  และ  3                              1  และ  3    
28.  โดยทั่วไปอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเพิ่มขึ้นประมาณสองเท่า  เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ  10 °c  ในการทดลองหนึ่งสารตัวอย่างของโพแทสเซียมคลอเรต  สลายตัว 90 % โดยมวลในเวลา 20 นาที ถ้าเพิ่มอุณหภูมิขึ้น  20°c  สารตัวอย่างดังกล่าวจะใช้เวลาในการสลายตัวกี่นาที
       2.5                                  5                                          10                                        15
29.  นักศึกษาทำการทดลองเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาสลายตัวของสาร X (สีเขียว)  เป็นสาร Y 
(สีเหลือง)  ดังนี้
การทดลอง
ผล
1.  ผลึก  x  ตั้งทิ้งไว้ในที่สว่าง
2.  ผลึก  x  ตั้งทิ้งไว้ในที่มืด
3.  สารละลาย  x  ตั้งทิ้งไว้ในที่มืด
4.  สารละลาย  x  ตั้งทิ้งไว้ในที่มืด ที่ 10 °c
5.  สารละลาย  x  ตั้งทิ้งไว้ในที่สว่าง 
สีเหลืองเกิดที่ผิวภายใน  5  นาที
สีเขียว
สีเขียว
สีเขียว
สีเหลืองอมเขียวภายใน  5  นาที
และค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง

ข้อใดไม่สามารถสรุปได้จากการทดลองข้างต้น
       สาร  x  ไม่เหมาะที่จะใช้ทำเป็นสีทาบ้าน       อัตราการสลายตัวของ  x  ขึ้นกับความเข้มข้น
       อัตราการสลายตัวไม่ขึ้นกับอุณหภูมิ            การสลายตัวของ  x  เกิดขึ้นได้ทุกสภาพถ้ามีแสง
30.  พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้
     1.  C (g)   +   2O (g)                        CO2 (g)     2.   C (s)   +   O2 (g)                        CO2 (g)
     3.  C (g)   +   O2 (g)                        CO2 (g)     4.   C (g)   +   2O (g)                      CO2 (l)
ปฏิกิริยาทั้งสี่คายพลังงาน  เรียงลำดับได้ดังข้อใด
        1  >  2  >  3  >  4                                                       2  >  4  >  1  >  3
        3  >  4  >  2  >  1                                                    4  >  1  >  3  >  2

11 ความคิดเห็น:

  1. ขอเฉลยหน่อยค่ะ #ด่วนค่ะ ได้โปรด

    ตอบลบ
  2. รบกวน ขอเฉลย หน่อยนะคับ ขอบคุณอย่างสูง

    ตอบลบ
  3. รบกวน ขอเฉลย หน่อยนะคับ ขอบคุณอย่างสูง

    ตอบลบ
  4. รบกวน ขอเฉลยด้วยนะคะ

    ตอบลบ
  5. ข้อเฉลยหน่อยคะ ด่วนๆ

    ตอบลบ
  6. ข้อเฉลยหน่อยค่ะ^^

    ตอบลบ
  7. รบกวนขอเฉลยหน่อยได้มั้ยค่ะ

    ตอบลบ